วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน

          ทอร์ก (τ) r หรือ โมเมนต์ของแรง (Moment of a force) คือ ความพยายามของแรงที่จะหมุนวัตถุรอบแกนหรือจุดหมุนหรือก็คือ โมเมนต์ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบหมุน มีหน่วย Nm เกิดจากผลคูณเชิงเวกเตอร์ของเวกเตอร์   อ่านเพิ่มเติม

วันพฤหัสบดีที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) สภาพยืดหยุ่น

          สภาพยืดหยุ่น (elasticity) สมบัติ ของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างได้เมื่อมีแรงกระทำ และจะกลับคืนสู่รูปร่างเดิมได้เมื่อหยุดออกแรงกระทำต่อวัตถุนั้น ตัวอย่างวัสดุที่มีสภาพยืดหยุ่น เช่น ฟองน้ำ    อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) สภาพสมดุล

          สภาพสมดุล (Equilibrium) คือ สมดุลที่เกิดขึ้นในขณะที่ วัตถุอยู่ในสภาพนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์    อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการหมุน

          อัตราเร็วเชิงมุม (angular speed)
อัตราเร็วเชิงมุม (ω) ในที่นี้หมายถึง ค่าอัตราเร็วเชิงมุมขณะใดขณะหนึ่งหรือค่าอัตราเร็วเชิงมุมเฉลี่ยของการ เคลื่อนที่ในช่วงเวลาสั้นๆ โดยหาได้จากสมการ   อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) การชน

          การชน (collision) ระหว่าง ก้อนวัตถุ คือ การที่ก้อนวัตถุเคลื่อนที่เข้ากระทบกัน ระหว่างกระทบกันย่อมมีแรงกระทำระหว่างกัน แต่การชนกันระหว่างอนุภาคซึ่งต่างมีประจุไฟฟ้า อนุภาคจะไม่เข้ามาสัมผัสกัน แต่ขณะที่ใกล้กันก็จะมีแรงกระทำระหว่างกันและอาจจะผลักกันค่อยๆ เปลี่ยนโมเมนตัม  อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) การดลและแรงดล

          การดล คือการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น kg.m/s หรือ N.S แรงดล คือ แรงที่มากระทำต่อวัตถุในช่วงเวลาสั้น ๆ หรืออัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปในช่วงหนึ่งหน่วยเวลา (Dt) แรงดลมีหน่วยเป็นนิวตัน  อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) โมเมนตัม

         โมเมนตัม (Momentum) ในทางฟิสิกส์นั้น โมเมนตัมเป็นคำเฉพาะที่จะใช้กับปริมาณอย่างหนึ่งของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ความหมายเหมือนจะเป็นปริมาณที่วัดความพยายามที่จะเคลื่อนไปข้างหน้าของวัตถุ  อ่านเพิ่มเติม





(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) กำลัง

          ถ้าเราทราบปริมาณงานที่ทำได้ในช่วงเวลาหนึ่ง เช่น ออกแรง 10 นิวตัน ดันกล่องมวล 100 กิโลกรัมไปตามแนวราบบนพื้นได้ระยะทาง 5 เมตร ในเวลา 10 นาที งานที่ได้มีค่า (10 N × 5 m) = 50 J ถ้าทำงานเท่ากันนี้ในช่วงเวลาที่แตกต่างไป เช่น 10 นาที สิ่งที่แตกต่างกันคือ อัตราการทำงาน หรือ งานที่ทำได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า กำลัง (power) สัญลักษณ์ คือ P มีหน่วยเป็น จูล/วินาที หรือ วัตต์ (Watt ใช้สัญลักษณ์ W)  อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) พลังงาน

          พลังงาน (energy) คือ  ความสามารถในการทำงานได้ของวัตถุหรือสสารต่าง ๆ   พลังงานสามารถทำให้สสารเกิดการเปลี่ยนแปลงได้  เช่น ทำให้สสารร้อนขึ้น เกิดการเคลื่อนที่  เปลี่ยนสถานะเป็นต้น   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) แรงและงาน

          ในชีวิตประจำวันเราทำกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งกิจกรรมที่ต้องใช้กำลังกล้ามเนื้อและไม่ใช้กล้ามเนื้อ ล้วนถือว่าเป็นการทำงานในความหมายทั่วไป แต่ในวิชาฟิสิกส์การทำงานมีความหมายเฉพาะตัวมากกว่างานในความหมายทั่วไป คือ จะมี "งาน" เกิดขึ้นต่อเมื่อมี อ่านเพิ่มเติม